วันจันทร์

สัปดาห์ที่ 16

สัปดาห์ที่ 16
บันทึกอนุทิน สัปดาห์ที่ 16
       วิชา : การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
       อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
       วัน/เดือน/ปี : 04 ธันวาคม พ.ศ. 2557
       ครั้งที่ : 16 กลุ่มเรียน : 101 (วันพฤหัสบดี : เช้า)
       เวลาเข้าเรียน 08:30-12:20 น. ห้องเรียน : 233

อุปกรณ์        : 1. กระดาษ A4    
                     2. สี
วิธีการทำ      : พับกระดาษเป็นแผ่นพับ (สามส่วน)
                    หน้าที่ 1
                              - สัญลักษณ์โรงเรียน 
                              - ชื่อโรงเรียน
                              - ชื่อหน่วย
                              - วาดรูปหน่วยที่จะสอน เช่น หน่วยข้าว หน่วยไก่ หน่วยกล้วย
                              - ชื่อนักเรียน
                              - ชื่อคุณครูประจำชั้น
                  หน้าที่ 2
                              - ข่าวประชาสัมพันธ์
                              - วัตถุประสงค์
                   หน้าที่ 3
                              - สาระที่ควรเรียนรู้
                              - ขอความร่วมมือถึงผู้ปกครอง
                   หน้าที่ 4
                              - สื่อการใช้จัดกิจกรรม เช่น เพลง นิทาน คำคล้องจอง
                    หน้าที่ 5
                              - เกมชวนคิด ในหน่วยเรื่องที่จะทำ

การนำไปประยุกต์ใช้
          การนำวิธีการเขียนแผ่นพับไปใช้ในการ ขอความช่วยเหลือจากผู้ปกครองในจากจัดกิจกรรมได้ 

การประเมินผล [Evaluation]
ประเมินตนเอง[Self] : อยู่ในระดับดี แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและตั้งใจฟังในสิ่งที่อาจารย์สอน
ประเมินเพื่อน[Friends] : : อยู่ในระดับดี แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือดี
ประเมินอาจารย์[Teacher] : อยู่ในระดับดีมาก เพราะว่า อาจารย์มีการเตรียมความพร้อมในการที่จะสอนนักศึกษามาอย่างดี อาจารย์มีการนำเสนอให้ทำแผ้นพับเพื่อนเป็นประโยชน์แก่ตัวนักศึกษาเอง

สัปดาห์ที่ 15

สัปดาห์ที่ 15
บันทึกอนุทิน สัปดาห์ที่ 15
       วิชา : การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
       อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
       วัน/เดือน/ปี : 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
       ครั้งที่ : 15 กลุ่มเรียน : 101 (วันพฤหัสบดี : เช้า)
       เวลาเข้าเรียน 08:30-12:20 น. ห้องเรียน : 233

การนำเสนอวิจัย

1. วิจัยเรื่อง ผลของกิจกรรมการทดลองที่มีผลต่อทักษะทางวิทยาศาสตร์ ด้านการสังเกต และการจำเเนกของเด็กปฐมวัย ทักษะวิทยาสาสตร์ที่ได้รับ การสังเกต การจำเเนก  การเเบ่งปริมาตร การสื่อความหมาย การหามิติสัมพันธ์
2. วิจัยเรื่อง การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ทักษะวิทยาศาสตร์ การจำเเนกประเภท การจัดประเภท อนุกรม 
3.วิจัยเรื่อง ผลการจัดประสบการณ์ หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์ นอกชั้นเรียนที่มีต่อทัษะการสังเกตของเด็กปฐมวัย ทักษะวิทยาศาสตร์ การสังเกต การประมาณ การเปลี่ยนเเปลง

การนำเสนอโทรทัศน์ครู

เรื่อง เสียงมาจากไหน  เรื่อง สอนวิทย์ คิดสนุกกับเด็กปฐมวัย  เรื่อง เรียนวิทยาศาสตร์สนุก  เรื่อง หน่วยไฟ เรื่อง  เรื่อง สีของกะหล่ำปลี บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง พลังจิตคิดไม่ซื่อ นมสีจากน้ำยาล้างจานสำหรับเด็กปฐมวัย  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง  ทะเลฟองสีรุ้ง  สนุกคิดวิทย์ทดลอง บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง ทอนาโดมหาภัย  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง  ความลับของใบบัว การทดลองความแข็งของวัตถุ

การนำไปประยุกต์ใช้
          การนำวิจัยและโทรทัศน์ครูไปเป็นแนวทางและการนำไปใช้ในการสอนเด็กปฐมวัย และผู้ปกครอง

การประเมินผล [Evaluation]
ประเมินตนเอง[Self] : อยู่ในระดับดี แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและตั้งใจฟังเพื่อนสอน
ประเมินเพื่อน[Friends] : : อยู่ในระดับดี แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือดี
ประเมินอาจารย์[Teacher] : อยู่ในระดับดีมาก เพราะว่า อาจารย์มีการเตรียมความพร้อมในการที่จะสอนนักศึกษามาอย่างดี 

สัปดาห์ที่ 14

สัปดาห์ที่ 14
บันทึกอนุทิน สัปดาห์ที่ 14
       วิชา : การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
       อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
       วัน/เดือน/ปี : 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
       ครั้งที่ : 14 กลุ่มเรียน : 101 (วันพฤหัสบดี : เช้า)
       เวลาเข้าเรียน 08:30-12:20 น. ห้องเรียน : 233

          วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษานำของเล่นมาส่ง
ของเล่นและสื่อวิทยาศาสตร์ มีดังนี้
          1.การเกิดจุดศูนย์ถ่วง
2.การใช้แรงดันลม

3.การเกิดเสียง
4.การใช้แรงดันน้ำ
5.การใช้พลังงาน/การเกิดแรง
6.จัดเข้าตามมุม

การทำวาฟเฟิล
อุปกรณ์ : แป้งวาฟเฟิล เนย ไข่ไก่ น้ำเปล่า ถ้วยผสม ช้อน เครื่องทำวาฟเฟิล มาการีน

วิธีทำ : นำแป้งวาฟเฟิล เนย ไข่ไก่ ใส่ลงไปในถ้วยผสม จากนั้นค่อยๆเติมน้ำ ตีส่วนผสมทั้งหมด จนเป็นเนื้อเดียวกัน ทามารีนที่ตัวเครื่องทำวาฟเฟิล เทแป้งที่ผสมไว้ ใส่ตรงกลางพิม รอสักครู่จากนั้นกลับด้าน ตักใส่จานพร้อนรับประทาน

การนำไปประยุกต์ใช้
          การนำของเล่นและสื่อวิทยาศาสตร์ไปเป็นแนวทางและการนำไปใช้ในการสอนเด็กปฐมวัย และผู้ปกครอง

การประเมินผล [Evaluation]
ประเมินตนเอง[Self] : อยู่ในระดับดี แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและตั้งใจฟังเพื่อนสอน
ประเมินเพื่อน[Friends] : : อยู่ในระดับดี แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือดี

ประเมินอาจารย์[Teacher] : อยู่ในระดับดีมาก เพราะว่า อาจารย์มีการเตรียมความพร้อมในการที่จะสอนนักศึกษามาอย่างดี 

สัปดาห์ที่ 13

สัปดาห์ที่ 13
บันทึกอนุทิน สัปดาห์ที่ 13
       วิชา : การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
       อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
       วัน/เดือน/ปี : 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
       ครั้งที่ : 13 กลุ่มเรียน : 101 (วันพฤหัสบดี : เช้า)
       เวลาเข้าเรียน 08:30-12:20 น. ห้องเรียน : 233

          วันนี้มีการนำเสนอวิจัย 7 เรื่อง
1.นางสาว กมลพรรณ แสงจันทร์
- ชื่อวิจัย : การส่งเสริมทักษะการสังเกต โดยใช้การจัดกิจกรรมเกมการศึกษา ของนักเรียนระดับอนุบาล 1 / 3
- ผู้วิจัย : นางสาวจุฑารัตน์ วรรณศรียพงษ์
- วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการสังเกตสิ่งต่างๆได้ดีขึ้น
    2. เพื่อให้นักเรียนนำทักษะที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
- ผลจากการวิจัย : ภายหลังจากการส่งเสริมทักษะการสังเกตของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1/3 โดยใช้การจัดกิจกรรมเกมการศึกษา พบว่าเด็กนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1/3 ทั้ง 36 คน ที่ได้รับการจัดกิจกรรมเกมการศึกษามีทักษะการสังเกตสูงขึ้น
- เครื่องมือที่ใช้ :    1. เกมจับคู่ภาพเหมือน
        2. เกมจับคู่ภาพกับเงา
        3. เกมภาพตัดต่อ
        4. เกมสังเกตรายละเอียดของภาพ
- ทักษะทางวิทยาศาสตร์ : การจำแนกประเภท การวัด การลงความเห็นข้อมูล ทักษะการสังเกต
2.นางสาว กมลกาญจน์ มลสาคร
- ชื่อวิจัย : ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
- ผู้วิจัย : ศศิพรรณ สำแดงเดช
- วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้ รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน ก่อนและหลังการทดลอง
2. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน ก่อนและหลังการทดลอง
- ผลจากการวิจัย : 1. เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจดกัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทานมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสําคัญที่ .01 และพบว่าทักษะด้านการสังเกต การจําแนก และการสื่อสารสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสําคัญที่ .01
2. ก่อนการทดลองการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน โดยรวมและรายดาน คือ ด้านการสังเกต ด้านการจําแนก และด้านการสื่อสาร อยู่ในระดับพอใช้ หลังการจัดกิจกรรมหลังการฟังนิทานโดยรวมอยู่ในระดับดีและรายด้านคือ ด้านการสังเกตอยู่ในระดับดีมาก ด้านการจําแนกและการสื่อสารอยู่ในระดับดี
- เครื่องมือที่ใช้ : 1. แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
     2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

- ทักษะทางวิทยาศาสตร์ : ทักษะการสังเกต การจําแนกประเภท และการสื่อความ
3.นางสาว นฤมล บุญคงชู
- ชื่อวิจัย : การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
- ผู้วิจัย : ชยุดา พยุงวงษ์
- วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัย
 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองและหลังทดลอง
- ผลจากการวิจัย : ระดับทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยรวมและรายด้าน สูงขึ้นกว่าก่อนการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยและแตกต่างอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยช่วยส่งเสริมทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
- เครื่องมือที่ใช้ : 1. แผนการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัย
       2. แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สําหรับเด็กปฐมวัย
- ทักษะทางวิทยาศาสตร์ : ทักษะการสังเกต ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล ทักษะการลงความเห็น ทักษะการพยากรณ์
4.นางสาว ปานัดดา อ่อนนวล
- ชื่อวิจัย :ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัย
- ผู้วิจัย : ยุพาภรณ์ ชูสาย
- วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
                                 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง
- ผลจากการวิจัย : ก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับปานกลางทั้งโดยรวมและจำแนกรายทักษะ หลังการ ใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยอยู่มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ทั้ง โดยรวมและจำแนกรายทักษะอยู่ในระดับมากที่สุด หลังการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทาง วิทยาศาสตร์สูงขึ้นกวาก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทาง วิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
- เครื่องมือที่ใช้ : แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติและแบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- ทักษะทางวิทยาศาสตร์ : ทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการหามิติสัมพันธ์ และทักษะการลงความเห็นข้อมูล
5.นาย ธนารัตน์ วุฒิชาติ
- ชื่อวิจัย : ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์แบบเน้นกระบวนการ
- ผู้วิจัย : ชนกพร ธีระกุล
- วัตถุประสงค์ : เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์แบบเน้นกระบวกกานและแบบปกติ
- ผลจากการวิจัย : เด็กที่ได้รับกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์แบบเน้นกระบวนการจะมีทักษะทางวิทยาศาสตร์มากกว่าเด็กที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์แบบปกติ
- เครื่องมือที่ใช้ : แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์แบบเน้นกระบวนการซึ่งผู้วิจัยสร้างทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และแบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- ทักษะทางวิทยาศาสตร์ : การสังเกต การจำแนก การหามิติสัมพันธ์ การลงความคิดเห็น การแสดงปริมาณ
6.นางสาว ชนัฐถ์นันท์ แสวงชัย
- ชื่อวิจัย : การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
- ผู้วิจัย : ชนกพร ธีระกุล
- วัตถุประสงค์ : เปรียบเทียบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับก่อน-หลังการจัดกิจกรรมและศึกษาระดับการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัย
- ผลจากการวิจัย : เด็กมีการคิดวิจารณญาณทั้งภาพรวมและรายด้านสูงกว่าเด็กปกติ
- เครื่องมือที่ใช้ : แผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
- ทักษะทางวิทยาศาสตร์ : การจำแนก การบอกรายละเอียด ความเหมือน-ต่าง
7.นางสาว ไลลา คนรู้
- ชื่อวิจัย : การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- ผู้วิจัย : นางสายทิพย์ ศรีแก้วทุม
- วัตถุประสงค์ : เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์แบบปกติ
- ผลจากการวิจัย : เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กับแบบปกติหลังการทดลองมีความสามารถด้านการคิดอย่างมีเหตุผลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติ 0.5
- เครื่องมือที่ใช้ : แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
- ทักษะทางวิทยาศาสตร์ : การจำแนก การจัดประเภท

การนำไปประยุกต์ใช้
          การนำกิจกรรมแผนการสอนของเพื่อนที่นำมาเสนอไปปรับใช้เพื่อเป็นแนวทางในการสอนเด็กปฐมวัย

การประเมินผล [Evaluation]
ประเมินตนเอง[Self] : อยู่ในระดับดี เตรียมความพร้อมในการนำเสนอวิจัย แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและตั้งใจฟังเพื่อนสอน
ประเมินเพื่อน[Friends] : : อยู่ในระดับดี แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและตั้งใจฟังเพื่อน ให้ความร่วมมือดี

ประเมินอาจารย์[Teacher] : อยู่ในระดับดีมาก เพราะว่า อาจารย์มีการเตรียมความพร้อมในการที่จะสอนนักศึกษามาอย่างดี